รีวิว Cinderella (1950)

ซินเดอเรลล่าเป็นบุตรสาวของเศรษฐีผู้มั่งมี แม่ของเธอเสียชีวิตตั้งแต่เธอยังเล็ก เป็นเหตุให้พ่อของเธอแต่งงานใหม่ซึ่งเป็นหม้ายและมีลูกสาวติดมาสองคน หลังจากนั้นพ่อของเธอก็เสียชีวิต ทำให้ธาตุแท้ของแม่เลี้ยงปรากฏขึ้น นางกับลูกสาวใช้งานซินเดอเรลล่าราวกับเป็นสาวใช้ จนวันหนึ่ง

มีจดหมายเรียนเชิญหญิงสาวทั่วอาณาจักรให้มาที่พระราชวังเพื่อร่วมงานเต้นรำเพื่อหาคู่ครองให้กับเจ้าชาย เมื่อรู้ข่าว ลูกสาวของแม่เลี้ยงใจร้ายทั้งสองต่างพากันดีใจที่บางทีตนอาจมีโอกาสได้เต้นรำและได้แต่งงานกับเจ้าชายก็เป็นไปได้ เช่นกันกับซินเดอเรลล่า ซินเดอเรลล่าเลยขอไปงานเต้นรำแต่แม่เลี้ยงใจร้ายจึงกลั่นแกล้งต่าง ๆ นานา

จนซินเดอเรลล่าไม่มีชุดใส่ไปงานเต้นรำ แน่นอนว่าเป็นคนที่ต้องได้รับพรจากนางฟ้า แต่วินเดอเรลล่าจะได้พรอะไร ต้องไปชมกันค่ะ

Cinderella ปีที่สร้าง 1950 ความยาว 75 นาที กำกับโดย Clyde Geronimi, Hamilton Luske และ Wilfred Jackson  อนิเมะต่างโลก

มาถึงคิวการ์ตูนกันบ้างครับผมในวันนี้ ช่วงโควิดที่แสนจะน่าเบื่อ เปิดไปช่องไหนก็มีแต่ข่าวโควิด เครียดๆ มาดูการ์ตูนกันบ้างครับ เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้เลื่อนโซเชียลไปเจอคนลงคลิปการ์ตูนเก่าย้อนวัยเด็กที่ใครๆ ก็ต้องรู้จักอย่าง Cinderella (1950) ไม่รู้คิดอะไรอยู่ตอนนั้น แต่ก็พาตัวเองไปนั่งจดจ่อกับ Cinderella

สุดยอดการ์ตูน Disney เก่าแก่จนจบเรื่องโดยไม่เบื่อเลย วันนี้ก็เลยคิดว่าจะต้องหยิบยก Cinderella มาพูดถึงกันซักหน่อย วันนี้ผมจะพูดในแง่ของการรีวิวน้อยกว่าการวิเคราะห์ตัวละคร ฉาก และเนื้อเรื่องแล้วกันนะครับ เพราะว่าใครๆ ก็ต้องเคยผ่านหูผ่านตามาบ้างล่ะ ทั้งจากนิทาน การ์ตูน และของเล่นสมัยเด็ก

ขนาดผมเป็นผู้ชายนะแต่ก็ยังรู้สึกว่าดูได้ครับเรื่องนี้ สนุกดีนะ ไม่ได้การ์ตูนจ๋า เนื้อเรื่องก็อาจจะน่ารักสดใส เด็กๆ ดูอาจะไม่คิดอะไร แต่เป็นผู้ใหญ่กลับมาดูแล้วรู้สึกได้เลย ทำไม Cinderella ถึงได้รับความนิยมมาจนถึงตอนนี้ และถูกนำไปเป็นสำนวนและพล็อตหนังอื่นๆ นับไม่ถ้วน

Cinderella เป็นหนังการ์ตูนอะนิเมชั่นที่ถูกสร้างขึ้นเมื่อปี 1950 โดย Walt Disney โดยมีเนื้อหาอิงมาจากเทพนิยายเรื่อง Cinderella ของชาร์ลส แปร์โรลต์ ซึ่งเป็นลำดับที่ 12 ของการสร้างการ์ตูนคลาสสิคของทางดิสนี่ย์เอง หลังจากการ์ตูนฉายแล้วก็ได้รับความนิยมอย่างล้นหลามจนทำให้การ์ตูนได้รับรางวัลอะคาเดมีถึง 3 รางวัลในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน

ได้แก่ Best Sound, Original Music Score และ Best Song อย่างว่าครับ การ์ตูนสมัยนั้นนิยมทำเป็นละครเพลงให้ได้มีโปรดัคเพลงออกมาให้คนได้ฟังกันผ่านทางแผ่นเสียง แผ่นวิดีโอ เทปคาสเส็ท และกระจายเสียงผ่านทางวิทยุได้ด้วย

เอกลักษณ์ของการ์ตูนดิสนี่ย์แทบทุกเรื่องจึงต้องมีเพลงเพราะๆ ทีมพากษ์เสียงใสๆ เพื่อให้อารมณ์ของการ์ตูนได้เฉิดฉายออกมาราวกับอยู่ในโลกที่หลุดออกมาจากเทพนิยายจริงๆ

รีวิว Cinderella (1950)

ว่ากันด้วยเรื่องของตัวละครเป็นอย่างแรก ตัวผมชอบนิสัยของ Cinderella มากครับ เธอไม่ใช่คนหัวอ่อน แต่เธอแค่เป็นคนมีจิตใจดี สังเกตได้จากบทบาทการดูแลแม่เลี้ยงและพี่เลี้ยงใจร้าย 2 คนที่ชอบจุกจิก เอาแต่ใจอยู่เสมอ แต่เธอก็อดทนทำเพราะเห็นเป็นหน้าที่ เธอไม่ได้ยอมเพราะอยากยอมนะ มีเบื้องหลังหลายๆ

ฉากเลยที่ผมนึกขำที่เธอบ่นแม่เลี้ยงกับพี่สาวว่าใช้อีกแล้ว เร่งอีกแล้วประมาณนี้ ถ้าใครยังจำได้นะครับ ซินเดอเรลล่าเคยมีพ่อและเป็นคุณหนูอยู่ประจำปราสาทแสนสวย แต่วันหนึ่งพ่อเกิดแต่งงานใหม่และนำแม่เลี้ยงเข้ามาในปราสาทแห่งนี้ แม่เลี้ยงก็สุรุ่ยสุร่าย อีกทั้งยังร้ายกับเธอ จนวันที่พ่อของเธอเสียชีวิตไป

เธอจึงจำเป็นต้องอยู่ในปราสาทแห่งนี้ในฐานะคนใช้โดยสถานการณ์จำยอม ซินเดอเรลล่าแค่เป็นคนดี แต่ไม่ใช่คนโง่นะครับ ซินรู้ว่าจะต้องทำอย่างไรในแต่ละสถานการณ์ และผลของความดีของซินจึงทำให้เธอได้ครองรักกับเจ้าชาย เบสิคมากๆ ใครทำดีก็ได้ดีประมาณนั้น ส่วนสัตว์เลี้ยงของซินก็น่ารักมาก พวกเจ้าหนู หมา และม้าจอมป่วน

ฉลาดและผมเกือบมองว่าเป็นตัวหลักของเรื่องเลยด้วยซ้ำ ไม่ได้สัตว์ๆ ผู้น่ารักคอยช่วย ซินคงไม่ได้แต่งงานกับเจ้าชายแน่ๆ เลยล่ะ

ด้านฉากก็ดีครับ ถือเป็นอะไรที่ Omg มากด้วยซ้ำที่ในปี 1950 ย้อนหลังไป 70 ปีก่อนถ้วนๆ เรามีอะนิเมชั่นที่ทำได้ดีถึงขนาดนี้ การเคลื่อนไหว เสียง ภาพ เอฟเฟ็คต่างๆ ไม่มีหลุดเลย ทำให้อินและลื่นไหลดีมากๆ เก็บรายละเอียดได้ดีทุกส่วน ผมไม่มีติเลย ดูไม่ออกด้วยซ้ำว่า 70 ปีก่อนจะมีการ์ตูนภาพและสีสวยๆ แบบนี้

จะดูออกก็แค่ภาพเก่ากว่าสมัยนี้เท่านั้นเอง เรื่องนี้จึงครองใจผมเกินบรรยายหลังดูจบ อ้อ ลืมพูดถึงทางฝั่งของเจ้าชาย มีบทบาทน้อยไปหน่อย แต่คาแร็คเตอร์ของพ่อซึ่งเป็นพระราชากับราชองครักษ์ต่างหากที่เรียกความสนใจ ตลกมาก ทั้งขำ ทั้งสนุก เป็นการ์ตูนดีๆ ที่ให้ดูอีกรอบก็ยังดูได้ครับ สาวๆ ลองกลับไปดู Cinderella (1950)

สุดยอดการ์ตูน Disney ย้อนวัยเด็กกันอีกครั้งก็ได้ ช่วงนี้มีเวลาให้ดูต่ออีกหลายต่อหลายเรื่องเลย ครั้งหน้ามาต่อกันที่ Little Mermaid กันบ้างครับ คาแร็คเตอร์นี้สาวๆ ก็น่าจะชอบกันมากๆ เช่นกันครับ

เว็บดูอนิเมะ

รีวิว Cinderella (1950)

ความรู้สึกหลังดู

Cinderellaเป็นอเมริกัน 1950เคลื่อนไหว ดนตรี ภาพยนตร์แฟนตาซีที่ผลิตโดยวอลท์ดิสนีย์บนพื้นฐานของเทพนิยายที่มีชื่อเดียวกันโดยชาร์ลส์แปร์โรลท์มันเป็นสิบภาพยนตร์สารคดีการ์ตูนดิสนีย์ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดยไคลด์เจโรนิมี , Hamilton Luskeและวิลเฟรดแจ็คสัน Mack David , Jerry Livingstonและ Al Hoffmanเขียนเพลงซึ่งรวมถึง

“Cinderella”, ” A Dream Is a Wish Your Heart Makes “, “Oh, Sing Sweet Nightingale”, “The Work Song”, ” Bibbidi-Bobbidi-Boo ” และ ‘ดังนั้นนี่คือความรัก’. มันมีเสียงของไอลีนวูดส์ , เอเลเนอร์ออด , เวอร์เฟลตัน , โรด้าวิลเลียมส์ , เจมส์ MacDonald , ลุยส์ฟานรูเทน , ดอนบาร์เคลย์ , ไมค์ดักลาส , วิลเลียมฟิบส์และลูซิลล์บลิส

ดูอนิเมะ

รีวิว Cinderella (1950)

ในช่วงกลางถึงปลายปี 1940 วอลต์ดิสนีย์โปรดักชั่นได้รับความเดือดร้อนทางการเงินหลังจากที่สูญเสียการเชื่อมต่อไปยังตลาดภาพยนตร์ยุโรปเนื่องจากการระบาดของสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงเวลานี้สตูดิโอต้องทนกับการวางระเบิดในบ็อกซ์ออฟฟิศเช่นPinocchio (1940), Fantasia (1940) และBambi (1942)

ซึ่งทั้งหมดนี้จะประสบความสำเร็จมากขึ้นในภายหลังด้วยการเผยแพร่ซ้ำหลายครั้งในโรงภาพยนตร์และในโฮมวิดีโอ ด้วยเหตุนี้สตูดิโอจึงมีหนี้สินมากกว่า 4 ล้านดอลลาร์และใกล้จะล้มละลาย วอลต์ดิสนีย์และแอนิเมเตอร์ของเขากลับมาผลิตภาพยนตร์สารคดีในปี 2491 หลังจากผลิตภาพยนตร์หลายชุดโดยมีแนวคิดในการดัดแปลงCendrillonของ

Charles Perraultเป็นภาพยนตร์แอนิเมชั่น[5]หลังจากสองปีในการผลิตซินเดอเรลล่าได้รับการเผยแพร่โดยRKO Radio Picturesในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 กลายเป็นภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมและมีความสำคัญในเชิงพาณิชย์มากที่สุดสำหรับสตูดิโอดิสนีย์นับตั้งแต่ภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องยาวเรื่องแรกเรื่องSnow White and the Seven Dwarfs (1937 ) และช่วยพลิกชะตากรรมของสตูดิโอ[5]ได้รับการเสนอชื่อชิงรางวัลออสการ์สามครั้งได้แก่เพลงยอดเยี่ยมเพลงต้นฉบับสำหรับ “Bibbidi-Bobbidi-Boo”

รีวิว Cinderella (1950)

หลายทศวรรษต่อมาตามมาด้วยภาคต่อของวิดีโอโดยตรง 2 เรื่องคือCinderella II: Dreams Come True (2002) และCinderella III: A Twist in Time (2007), และการดัดแปลงไลฟ์แอ็กชันในปี 2015 ที่กำกับโดยKenneth Branagh ปราสาทที่นำเสนอในภาพยนตร์เรื่องนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของThe Walt Disney Company

ซึ่งทำหน้าที่เป็นพื้นฐานสำหรับโลโก้การผลิตของวอลต์ดิสนีย์พิคเจอร์สและมีการสร้างปราสาทในชีวิตจริงที่Magic Kingdom park ที่Walt Disney Worldเช่นเดียวกับที่โตเกียวดิสนีย์แลนด์ ในปี 2018 ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเลือกให้เก็บรักษาไว้ใน United States National Film RegistryโดยLibrary of Congressว่าเป็น

“ทางวัฒนธรรมประวัติศาสตร์หรือความสวยงามที่มีความสำคัญ”

รีวิวการ์ตูนอนิเมะ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *